สถานภาพกำลังพล


แผนกวิชาก่อสร้างและสาธารณูปโภค

1.ดำเนินการสอนวิชาก่อสร้างและสาธารณูปโภคตามหลักสูตรและนโยบายที่ได้รับมอบจาก รร.ช.กช.
2.ค้นคว้าและปรับปรุงเพื่อพัฒนาวิชาการก่อสร้างและสาธารณูปโภคของทหารช่างให้ทันสมัย
3.บันทึก และรายงานสถิติผลงานตามหน้าที่











ข้อสังเกตุอาคารพักอาศัยว่าทรุดตัวหรือไม่

                           1.รอยร้าวผนังชั้นล่าง ร้าวทำมุม 45 องศากับพื้น


                            2.รอยร้าวกว้างตั้งแต่ 0.5 มม ขึ้นไป


                           3.รอยร้าวกว้างขยายมากขึ้นเรื่อยๆ ยาวมากขึ้นเรื่อยๆ



          
                           4.ประตูหน้าต่างเริ่มปิดไม่เข้า



                            5.มีเศษปูนร่วงหล่น จากเสาคานและพื้น



                                                  
                            6.ระบบท่อน้ำประปาเริ่มแตก



                            7.มองดูลักษณะอาคารเอียง


                            8.มีเสียงลั่นของอาคารเป็นบางครั้ง โดยเฉพาะกลางคืน


ข้อสังเกตุ 8 ข้อ เหล่านี้บอกได้ว่าเป็นรอยร้าวที่อันตรายส่วนรอยร้าวที่ไม่อันตรายมีดังนี้
          1.รอยร้าวตามมุมวงกบ ประตูหน้าต่าง
          2.รอยร้าวแตกรายงาตามผนังก่ออิฐฉาบปูน
          3.รอยแตกร้าวผนังชนคานชนเสา
          4.รอยแตกร้าวทางแนวดิ่ง และ ทางแนวนอน
          5.รอยแตกร้าวที่พื้นโรงรถ,พื้นทางเท้า,พื้นลานซักล้าง
          6.รอยแตกร้าวบริเวณหลังวงกบประตู,หน้าต่างทางแนวนอน

////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////


การตรวจสอบอาคาร

          ในอาคารสูงใหญ่มีกฏหมายกำหนดให้ตรวจสอบอาคาร แต่ไม่ครอบคลุมการตรวจดูแลรักษาบ้าน จึงขอแนะนำการตรวจบ้านด้วยตนเองเพื่อให้อยู่อาศัยอย่างปลอดภัยก่อนที่จะถึงการตรวจสอบบ้าน ขอให้ความรู้อาคาร ชนิดที่ต้องถูกตรวจสอบตามกฏหมายมีผลบังคับ 29 ธันวาคม 2550 นี้
          1. อาคารชุมนุมคน ( พื้นที่ 1,000 ตารางเมตรขึ้นไป หรือจุคนตั้งแต่ 500 คนขึ้นไป )
2. อาคารสูง ( ตั้งแต่ 23 เมตรขึ้นไป )
3. อาคารขนาดใหญ่พิเศษ ( พื้นที่ 10,000 ตารางเมตรขึ้นไป )
4. โรงมหรสพ
5. โรงแรม ( จำนวนห้องตั้งแต่ 80 ห้องขึ้นไป )
6. โรงงาน ( สูงมากกว่าหนึ่งชั้น และมีพื้นที่ตั้งแต่ 5,000 ตารางเมตรขึ้นไป )
7. สถานบริการ ( พื้นที่ตั้งแต่ 200 ตารางเมตร ขึ้นไป )
8. อาคารอยู่อาศัยรวม หรือ อาคารชุด ( พื้นที่ตั้งแต่ 2,000 ตารางเมตรขึ้นไป )
9. ป้ายหรือสิ่งที่ติดตั้งป้าย ( สูงตั้งแต่ 15 เมตร ขึ้นไป หรือ มีพื้นที่ตั้งแต่ 50 ตารางเมตร ขึ้นไป หรือป้ายที่ติดบนหลังคา หรือ ส่วนหนึ่งส่วนใดของอาคารมีพื้นที่ตั้งแต่ 25 ตารางเมตรขึ้นไป )

ส่วนเนื้อหาความรู้การตรวจสอบบ้านจะแบ่งออกเป็น หัวข้อดังต่อไปนี้
1. ความรู้เรื่องการบำรุงรักษาบ้าน
   1.1 ควรทำอะไร-ไม่ควรทำอะไรในบ้านของเรา
   1.2 อายุของอาคาร
   1.3 ข้อควรระวังสำหรับบ้าน
   1.4 ความเข้าใจเรื่องธรรมชาติของวัสดุ

2. การดูแลรักษางานโครงสร้าง
   2.1 การดูแลรักษา เสา คาน พื้น
   2.2 การดูแลบำรุงรักษา พื้นบนดิน
        - พื้นโรงรถ
        - พื้นทางเท้า
        - พื้นลานซักล้าง
3. การดูแลรักษางานสถาปัตยกรรม
   3.1 การดูแลรักษาสีภายนอก
   3.2 การดูแลรักษาสีภายใน
   3.3 การดูแลรักษาผนังปูนฉาบ
  3.4 การดูแลรักษาอิฐโชว์แนว
  3.5 การดูแลรักษาฝ้าเพดาน
  3.6 การดูแลรักษากระเบื้องแกรนนิต หินอ่อน
  3.7 การดูแลรักษาบันได
  3.8 การดูแลรักษาประตู หน้าต่าง
ส่วนที่เป็นไม้
       - ส่วนที่เป็นอลูมิเนียม
       - ส่วนที่เป็น PVC
3.9 การดูแลรักษาพื้นแบบต่างๆ
     - พื้นที่ปาร์เก้
     - พื้นพรม
     - พื้นลามิเนต
     - พื้นกระเบื้องยาง
     - หินล้าง/ทรายล้าง/กรวยล้าง/หินขัด
     - พื้นบล็อกตัวหนอน
     - ถนนคอนกรีต
3.10 การดูแลบำรุงรักษางานระบบภายนอก
       - ถังบำบัด
       - ท่อระบายน้ำทิ้ง
       - ท่อระบายน้ำฝน
       - ท่ออากาศภายนอก
4. การดูแลบำรุงรักษางานระบบ
   4.1 ระบบประปา/ท่อน้ำทิ้ง
   4.2 ระบบไฟฟ้า/สื่อสาร
   4.3 ระบบท่อกำจัดปลวก
5. การดูแลรักษาสุขภัณฑ์
   5.1 ชักโครก
   5.2 อ่างล่างหน้า
   5.3 ฝักบัว
6. การดูแลรักษาสภาพอาคารทั่วไป
    6.1 บริเวณนอกอาคาร
7. การใช้สี และ เคมีภัณฑ์ในการซ่อมแซมอาคาร
8. เครื่องมือ อุปกรณ์สามัญประจำบ้าน
   8.1 เครื่องมือสามัญประจำบ้าน
   8.2 อุปกรณ์สามัญประจำบ้าน

///////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////////